วันพุธที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2553

INFORMATION TECHNOLOGY FOR PROFESSIONAL ACCOUNTANTS


Outsourcing, Offshoring, and IT as a subsidiary
Reason To Outsourcing
-เพื่อที่องค์กรจะได้ให้ความสนใจกับ core competency ได้อย่างเต็มที่
-ลดต้นทุน กล่าวคือ องค์กรไม่ต้องมีการฝึกฝนหรือลงทุนในสิ่งที่ไม่ถนัด ซึ่งองค์กรอาจต้องลงทุนจำนวนมากในการเรียนรู้
-เพิ่มประสิทธิภาพ เนื่องจากการที่องค์กรทำในสิ่งที่ตนไม่ถนัด อาจไม่ได้ผลที่ดีเท่ากับการoutsourceให้กับผู้ที่เชี่ยวชาญโดยตรงทำ
-ช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน เนื่องจากองค์กรได้นำส่วนที่ไม่ถนัดออกไปให้คนอื่นทำ ดังนั้นองค์กรจึงสามารถใช้ทรัพยากรในองค์กรไปเพิ่มความสามารถด้านอื่นๆที่ตนถนัดได้
Outsourced IT function
-Application maintenance
-Telecommunication/LAN
-PC maintenance
Outsourcing Agreement
-Transactional outsourcing agreement การoutsourceออกไปทั้งกระบวนการ
-Co-sourcing alliance การร่วมมือกับบริษัทoutsourceเพื่อร่วมกันทำโครงการ
-Strategic partnership การoutsourceออกไปใหห้แก่outsourcerเจ้าเดียว
Potential
Risk
-ประโยชน์ในด้านการประหยัดต้นทุน
-สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีได้รวดเร็วกว่า เนื่องจากองค์กรไม่ต้องเรียนรู้เอง
-องค์กรสามารถนำเอาทรัพยากรขององค์กรไปพัฒนาcore business ของตัวเองได้มากขึ้น
-ลดภาระปัญหาในการพัฒนาบุคลากรของงองค์กรให้มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
-องค์กรไม่ต้องรับความเสี่ยงจากการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น พัฒนาได้ไม่ตรงต่อความต้องการ หรือไม่มีประสิทธิภาพ เป็นต้น
-องค์กรสามารถกำหนดระดับของการบริการ (Service Levels)ได้ เช่น ต้องการให้งานเสร็จเมื่อไหร่ ความผิดพลาดที่ยอมรับได้ เป็นต้น
-การที่ผู้รับทำงานไม่ปฏิบัติตามสัญญาว่าจ้าง
-การที่ผู้รับทำงานนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศที่พัฒนาให้กับองค์กรไปใช้กับองค์กรอื่นด้วย
-หากมีการทำสัญญาระยะยาว อาจทำให้องค์กรเกิดค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม และหากไม่พึงพอใจต่อผู้รับทำงานก็ไม่สามารถเปลี่ยนได้


 Strategies for Risk Management in Outsourcing
      Understand project การทำความเข้าใจระบบขององค์กรให้ชัดเจน
      Divide & conquer การแบ่งงานออกเป็นส่วนย่อยๆ
      Align incentives แรงจูงใจในการทำงาน เช่น มีการจ่ายผลตอยแทนล่วงหน้าแก่ผู้รับทำงานให้ เพื่อให้เกิดความกระตือรือร้นในการทำงาน
      Write short-period contracts การทำสัญญาระยะสั้น เพื่อจะได้ไม่เป็นการผูกมัดองค์กร ซึ่งทำให้องค์กรสามารถเปลี่ยนบริษัทผู้รับทำงานให้ได้ หากบริษัทที่ไปว่าจ้างขาดระสิทธิภาพหรือทำงานไม่ดี
      Control subcontracting ต้องมีการตรวจสอบบริษัทผู้รับทำงานให้ หากผู้รับทำงานมีการส่งต่องานไปยังอีกบริษัท องค์กรก็ต้องมีการตรวจสอบบริษัทนั้นด้วย
      Do selective outsourcing การเลือกเฉพาะงานที่ไม่ใข่core business ในการว่าจ้างผู้อื่นทำงานให้ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสี่ยงจากการสูญเสีย core competency
 Factors should be considered in offshore outsourcing
      Business & political environments in selected country  ต้องมีการดูสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง รวมทั้งบริษัทที่องค์กรจะไปว่าจ้างเพื่อลดความเสี่ยงจากปัจจัยต่างๆที่อาจเกิดขึ้น
      Quality of infrastructure คุณภาพของโครงสร้างพื้นฐาน เช่น การับ-ส่งข้อมูล
      Risks e.g. IT competency, human capital, the economy, legal environment, and cultural differences  การตรวจดูความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในด้านต่างๆ เพื่อลดความสูญเสียที่อาจเกิดเมื่อองค์กรไปลงทุน
Risk & Uncertainties in offshore outsourcing
      Cost-reduction expectation
      Data Security/Protection ความปลอดภัยของข้อมูลต่างๆ ตรวจสอบไดยากเนื่องจากผู้รับทำงานให้อยู่ไกล
      Process discipline, which is use of the same process repeatedly without innovation เนื่องจากองค์กรไม่ได้มีการพัฒนาด้วยตนเอง ทำให้อาจขาดการเรียนรู้และพัฒนาเพิ่มเติม
      Loss of business knowledge ความเสี่ยงจากองค์ความรู้ขององค์กรรั่วไหล
      Vendor failure to deliver  การที่ผู้รับทำงานไม่สามารถส่งมอบงานที่มำให้แก่องค์กร
      Scope creep, which is the request for additional services not included in the outsourcing agreement การตั้งข้อจำกัดของงานที่ทำให้ ดังนั้นหากองค์กรมีต้องการเพิ่มเติม อาจต้องมีค่าใช้จ่ายส่วนเพิ่ม
      Government oversight/ regulation กฏหมายและการควบคุมของรัฐในประเทศที่ผู้รับทำงานให้ตั้งอยู่
      Differences in culture ความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรม
      Turnover of key personnel
      Knowledge transfer  
Types of work that are not readily offshore outsourced
                งานที่องค์กรไม่ควรมอบให้ผู้รับทำงานให้ทำ คือ งานที่ถือเป็นcore competency ขององค์กร ซึ่งอาจส่งผลให้องค์กรสูญเสียการควบคุม และงานที่ต้องมีการดูแลด้านความปลอดภัยของข้อมูล หรือความลับขององค์กร รวมทั้งงานที่ต้องการการบูรณาการความรู้เหลายด้านซึ่งองค์กรควรว่าจ้างผู้ที่มีทักษะเข้ามาสอนแทนการว่าจ้างองค์กรอื่น

Acquiring and Developing Business Applications and Infrastructure
The business performance management cycle and IT model
The Framework of IT Application Acquisition
      Wide range of sizes & types. ขนาดและรูปแบบของระบบอาจมีวิธีการได้มาไม่เหมือนกัน
      Applications keep changing over time. การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของโปรแกรม
      Applications may involve several business partners. การเกี่ยวข้องกันของหลายบริษัท
      No single way to acquire IT applications.
      Diversity of IT applications requires variety of acquisition methodologies & approaches.
Acquisition Process of IT Application
      Step 1 –การวางแผน ระบุความต้องการเบื้องต้นของรูปแบบสารสนเทศที่ต้องการ
      Step 2 – การวางโครงสร้างของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อทำให้ระบบเชื่อมโยงกันได้ง่ายขึ้น
      Step 3 – การเลือกวิธีการได้มาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การซื้อ การเช่า การสร้างขึ้นเอง เป็นต้น
      Step 4 – การทดสอบและตรวจสอบการทำงาน และติดตั้งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
      Step 5 –การพัฒนา ปรับปรุงซ่อมแซม และอัพเดตอย่างสม่ำเสมอ

Six steps in selecting a vendor and software package
1.การตั้งเกณฑ์ในการประเมิน และให้น้ำหนักความสำคัญในแต่ละเกณฑ์
2.ระบุvendorsที่มีศักยภาพ
3.ประเมินแต่ละvendorsและรูปแบบของโปรแกรม โดยการสอบถามจากผู้ที่มีประสบการณ์
4.การตัดสินใจเลือก
5.การตกลงข้อสัญญาต่างๆที่เป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
6.การเปิดเผย Service-Level Agreement (SLA)
Business Process Redesign(BPR) การคิดทบทวนกระบวนการทางธุรกิจ เพื่อออกแบบกระบวนการทางธุรกิจใหม่
หรือเปลี่ยนแปลงกระบวนการทางธุรกิจเพื่อให้ธุรกิจดีขึ้นในด้านต่างๆ
ตัวขับเคลื่อนที่ทำให้เกิดการออกแบบใหม่
-ความต้องการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาให้ระบบใช้งานง่ายขึ้น และรวดเร็วขึ้น
-เพื่อให้ข้อมูลเกิดการบูรณาการ
-เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้มากขึ้น
-การเปลี่ยนรูปแบบเป็นลักษณะ e-business
Business Process Management (BPM) หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในองค์กร เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เป็น
สินค้า/บริการ ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า ทั้งลูกค้าภายใน และภายนอกองค์กร โดยลูกค้าภายในองค์กรคือ พนักงานในแผนกต่างๆ ที่ต้องทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ของสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ ส่วนลูกค้าภายนอกองค์กรคือ บริษัท/บุคคล ที่องค์กรจำเป็นต้องติดต่อประสานงาน ไม่ว่าจะเป็นผู้ขาย สินค้า/บริการ (Supplier) และ ลูกค้าที่ซื้อสินค้า/บริการ (Buyer) เกิดเป็น Value Chain เชื่อมต่อกันของสายธุรกิจ จากการพัฒนากระบวนการธุรกิจภายในองค์กร

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น